ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลอื่นๆ
20 มีนาคม 2559

356


มวลชนจัดตั้ง

  • ไทยอาสาป้องกันชาติ                                             -   คน
  • อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน                               11 คน

 

ที่ทำการ
15 มีนาคม 2559

394


ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง

หมู่ที่ 3 ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี 94110

เวลาทำการ จันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.30 - 16.30 น.

โทรศัพท์: 0-7333-0638 / โทรสาร: 0-7333-0638

http://www.tabing.go.th

สภาพทั่วไป
15 มีนาคม 2559

880


ที่ตั้งและอาณาเขต

                   องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง  ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอสายบุรี  ห่างจากที่ว่าการอำเภอสายบุรี   ใกล้สุด 1 กิโลเมตร   และไกลสุด   8   กิโลเมตร  มีระยะทางห่างอำเภอเมืองปัตตานี  ประมาณ  ๔๕  กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับกับพื้นที่ต่าง ๆ ดังนี้  (ดังแผนที่ประกอบ)  

 

ทิศเหนือ 

ติดต่อกับตำบลปะเสยะวอและตำบลบือเระ  อำเภอสายบุรี

 

ทิศตะวันตก 

ติดต่อกับตำบลมะนังดาลำและตำบลกะดูนง  อำเภอสาบุรี

 

ทิศใต้

ติดต่อกับตำบลละหารและตำบลตะลุบัน  อำเภอสายบุรี

 

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับตำบลเตราะบอลและตำบลกะดุนง  อำเภอสายบุรี

 

แผนที่แสดงขอบเขตพื้นที่อำเภอสายบุรี


 

 

เนื้อที่

                   ตำบลตะบิ้ง  มีเนื้อที่ทั้งหมด  ประมาณ  13.07  ตารางกิโลเมตร  หรือ 8,168  ไร่  คิดเป็นร้อยละ  7.79  ของพื้นที่อำเภอสายบุรี  มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 8  รองจากองค์การบริหารส่วนตำบลบือเระ 

อบต.

ขนาดอบต.

พื้นที่ 
(ตร.กม.)

ร้อยละของพื้นที่

จำนวนหมู่บ้าน

ลำดับพื้นที่

เตราะบอน

เล็ก

22.19

13.23

16

2

บือเระ

กลาง

14.07

8.39

4

7

กะดุนง

เล็ก

15.28

9.11

8

6

ตะบิ้ง

กลาง

13.07

7.79

6

8

ปะเสยะวอ

กลาง

16.84

10.04

7

5

แป้น

เล็ก

24.93

14.86

8

1

ละหาร

เล็ก

12.09

7.21

5

9

มะนังดาลำ

เล็ก

22.18

13.22

6

3

บางเก่า

เล็ก

8.53

5.09

4

10

ตำบลตะลุบัน

เทศบาลตำบล

18.56

11.06

20

4

พื้นที่รวม

167.74

100.00

 

 

 

หมายเหตุ :  ข้อมูลจากสำนักงานท้องถิ่นจังหวัดปัตตานี

 

ลักษณะภูมิประเทศ

                   ตำบลตะบิ้งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบลุ่ม  ทางฟากตะวันตกของพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ  มีแม่น้ำสายบุรีไหลผ่าน  จากทางทิศใต้ไปยังทิศเหนือ  ในฤดูน้ำหลากจะมีน้ำล้นตลิ่งขึ้นมาจนเกิดปัญหาน้ำท่วมซ้ำซาก  นอกจากนี้ยังมีแม่น้ำธรรมขาติคือ  คลองปิโก  และคลองจ่ากอง  มีบึ่งขนาดใหญ่อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตำบล

 

แผนที่สดงตำบลตะบิ้ง  อำเภอสายบุรี  จังหวัดปัตตานี


 

 

จำนวนหมู่บ้าน

                   ตำบลตะบิ้งมี จำนวน  6  หมู่บ้าน ได้แก่  
                            หมู่ที่  1 บ้านตะบิ้ง             
                            หมู่ที่  2  บ้านกูแบบาเดาะ   
                            หมู่ที่  3  บ้านเจาะกือแย         
                            หมู่ที่  4  บ้านแซะโมะ  
                            หมู่ที่  5 บ้านลานช้าง                   
                            หมู่ที่  6  บ้านกาเยาะมาตี   
                            โดยพื้นที่ทั้ง  6  หมู่บ้าน  อยู่ในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง

 

ประชากร

                   องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้งมีหมู่บ้านทั้งหมด  6  หมู่บ้าน     จำนวนประชากรทั้งหมด  5,983  คน  รายละเอียดดังนี้

 

ตารางแสดงจำนวนประชากรในเขตตำบลตะบิ้ง  ปี  พ.ศ.  2554

หมู่ที่

ชื่อบ้าน

จำนวนประชากร

จำนวนครัวเรือน

ชาย

หญิง

   รวม

1

บ้านตะบิ้ง

578

635

1,217

314

2

บ้านกูแบบาเดาะ

423

437

860

271

3

บ้านเจาะกือแย

720

772

1,492

415

4

บ้านแซะโมะ

262

281

543

158

5

บ้านลานช้าง

422

450

872

224

6

บ้านฆาเยาะมาตี

470

529

999

264

ประชากรทั้งหมด

2,875

3,108

5,983

1,646

 

ที่มา : สำนักบริหารการทะเบียน ข้อมูล  ณ  เดือนธันวาคม    2554

 

สภาพทางสังคม
15 มีนาคม 2559

388


การศึกษา

                   โรงเรียนประถมศึกษา    4  แห่ง 
                            - โรงเรียนบ้านตะบิ้ง   หมู่ที่ 1
                            - โรงเรียนบ้านเจาะกือแย   หมู่ที่ 3
                            - โรงเรียนบ้านแซะโมะ   หมู่ที่ 4 
                            - โรงเรียนบ้านลานช้าง   หมู่ที่ 5 
                   โรงเรียนมัธยมศึกษาศึกษา  ( โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา )    4    แห่ง
                            - โรงเรียนราษฎร์ประชานุเคราะห์  หมู่ที่  1
                            - โรงเรียนศาสนศึกษา  หมู่ที่  1
                            - โรงเรียนสามารถดีวิทยา  หมู่ที่  3
                            - โรงเรียนบำรุงมุสลีมีน  หมู่ที่  3
                   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน           3  แห่ง
                            -  ศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดดารุลอิฮซาน
                            - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลานช้าง
                            -  ศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดกูแบบาเดาะ
                   ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน          6  แห่ง 
                            - ศูนย์การเรียนรู้                          1  แห่ง

 

สถาบันและองค์กรทางศาสนา

                   -   มัสยิด                   10        แห่ง

 

การสาธารณสุข

                   -  สถานีอนามัยประจำตำบล                              1      แห่ง 
                   -  อัตราการมี  และการใช้ส้วม                                    99  %

 

 

สภาพทางเศรษฐกิจ
15 มีนาคม 2559

343


อาชีพ

 

                   ประชากรในตำบลตะบิ้งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก  เช่น  ทำสวนยาง   รองลงมาคือ สวนผลไม้  ทำไร่  ทำนา  การเลี้ยงสัตว์   รับจ้างทั่วไปและค้าขาย

                   อาชีพหลักของประชากร  แบ่งเป็น  3  ประเภท  คือ

                            - เกษตรกรรม (นาข้าว ยางพารา ลองกอง  เงาะ  ทุเรียน  มังคุด และ ลางสาด)

 

การบริการพื้นฐาน
30 พฤศจิกายน 542

428


การคมนาคม

                   ภายในตำบลตะบิ้ง   มีถนนดังตารางดังต่อไปนี้

เส้นทาง

พื้นที่ (หมู่)

ระยะทาง (เมตร)

ประเภท

เส้นทางสายหลัก ( จำนวน สาย )

(1) ถนนสาย 42 (เอ 18) ปัตตานี-นราธิวาส 
ถนนสายกะลาพอ (สาย 42 เดิม)

2,3,6

3,900    เมตร

ถนนลาดยาง

(2) เจาะกือแย – สายบุรี

1,3

4,000   เมตร

ถนนลาดยาง

(3) ถนนสายกาเยาะมาตี  -  เจาะกะพ้อ

5,6

2,000   เมตร

ถนนลาดยาง

(4) ถนนลาคอ -  จ่ากอง

1,2

3,500   เมตร

ถนนลาดยาง

ถนนหมู่บ้าน  ( จำนวน  10  สาย  )

(1) ถนนเจาะกือแย -  แซะโมะ

3,4

2,500  เมตร

หินคลุก,ลาดยาง

(2) ถนนสายกาเยาะมาตี  - ลานช้าง

5,6

3,200  เมตร

หินคลุก,ลาดยาง

(3) ถนนสายบือแนยามู-  ลานช้าง

5,6

1,850  เมตร

ลูกรัง

(4) ถนนสายสระตะบิ้ง

1

1,545  เมตร

คสล. ,ลูกรัง

(5) ถนนสายบ้านพักครู

3

345    เมตร

คสล.

(6) ถนนสายศาลาเก่า

3

493    เมตร

คสล.

(7) ถนนสายชลประทาน

1,2

1,700  เมตร

ถนนดิน

(8) ถนนสายศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

2

170    เมตร

คสล.

(9) ถนนสายลานช้าง  -  ละอาร์

5

1,300  เมตร 

คสล. ,ลูกรัง

(10) ถนนสายโต๊ะลาตู   -   โต๊ะอูละ

5

400    เมตร

ลูกรัง

 

                   ถนนลูกรัง  10  สาย  ทั้งนี้การสัญจรไปมาไม่สะดวก โดยเฉพาะในฤดูฝน เส้นทางดังกล่าวกินพื้นที่  4 หมู่บ้าน คือ  หมู่  3  บ้านเจาะกือแย  หมู่  4 บ้านแซะโมะ  หมู่  5  บ้านลานช้าง  และหมู่  6  บ้านกาเยาะมาตี

 

การโทรคมนาคม

                   - ตู้โทรศัพท์สาธารณะ                   -        แห่ง 
                   - โทรศัพท์สาธารณะติดผนัง         1        แห่ง

 

การไฟฟ้า

                   - ไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้าน  แต่มีบางจุด ที่ยังไม่ทั่วถึง

 

แหล่งน้ำธรรมชาติ

                   - แม่น้ำ                                         1       สาย (แม่น้ำสายบุรี)
                   - คลอง                                         1       สาย (คลองน้ำจืดจ่ากอง)
                   - ลำห้วย                                       4       สาย

 

แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

                   - ฝาย                                            1       แห่ง 
                   - บ่อโยก                                       4       แห่ง 
                   - ประปา                                       5       แห่ง (ชำรุด 3 แห่ง)
                   - สระน้ำ                                       1       แห่ง